หะดีษที่ 47-1 มนุษย์ไม่เคยบรรจุลงในภาชนะอันใดที่เลวยิ่งกว่าท้อง

Submitted by admin on Fri, 13/06/2014 - 12:36
หัวข้อเรื่อง
ญามิอุลอุลูมวัลหิกัม ครั้งที่ 172 (หะดีษที่ 47/1)
“มนุษย์ไม่เคยบรรจุลงในภาชนะอันใดที่เลวยิ่งกว่า(การบรรจุลงใน)ท้อง เพียงพอแล้วสำหรับลูกหลานอาดัมด้วยอาหารเพียงไม่กี่คำที่สามารถจะยกหลังของเขา..."
อิบนุรอญับ - "หะดีษนี้เป็นหลักการสำคัญในวิชาแพทย์"
ประโยชน์ของการหิวต่อสุขภาพกายและหัวใจ,
การดำเนินชีวิตของชาวสะลัฟในด้านการบริโภคอาหาร
การอดอยากบ้างหิวบ้างมีประโยชน์สำหรับหัวใจและนัฟซูมั้ย ?
หะซัน อัลบัศรียฺ – โอ้ลูกหลานอาดัมเอ๋ย จงกินหนึ่งในสามของกระเพาะ ดื่มอีกหนึ่งในสาม และไว้อีกหนึ่งในสามให้หายใจ จะได้คิดไตร่ตรองได้
สถานที่
มัสยิด มูลนิธิสันติชน
วันที่บรรยาย
10 ชะอฺบาน 1435
วันที่บรรยาย
วันที่อัพ
ขนาดไฟล์
19.80 mb
ความยาว
67.00 นาที
มีวีดีโอ
มี
รายละเอียด
الحديث السابع والأربعون 
หะดีษที่ 47
 
عَنِ المِقدامِ بنِ مَعدِ يكرِبَ قالَ : سَمِعْتُ رَسولَ اللهِ صلى الله عليه وسلم يَقولُ
: (( ما مَلأ آدميٌّ وِعاءً شَرّاً مِنْ بَطْنٍ ، بِحَسْبِ ابنِ آدمَ أَكَلاتٌ يُقِمْنَ صُلْبَهُ ، فإنْ كَانَ لا مَحالَةَ ، فَثُلُثٌ لِطعامِهِ ، وثُلُثٌ لِشَرابِهِ ، وثُلُثٌ لِنَفسه ))
رواهُ الإمامُ أحمَدُ والتِّرمِذيُّ والنَّسائيُّ وابنُ ماجَهْ ، وقَالَ التِّرمِذيُّ : حَدِيثٌ حَسَنٌ .
 
ความว่า : จากมิกดาม บินมะอฺดีกะริบ กล่าวว่า ฉันได้ยินท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวว่า : มนุษย์ไม่เคยบรรจุลงในภาชนะอันใดที่เลวยิ่งกว่า(การบรรจุลงใน)ท้อง เพียงพอแล้วสำหรับลูกหลานอาดัมด้วยอาหารเพียงไม่กี่คำที่สามารถจะยกหลังของเขา หรือหากจำเป็นจริง ๆ แล้ว ก็ (จงเตรียมท้องไว้สามส่วน) ส่วนหนึ่งสำหรับอาหาร ส่วนหนึ่งสำหรับเครื่องดื่ม และอีกส่วนหนึ่งสำหรับลมหายใจ”
 

هذا الحديثُ خرَّجه الإمام أحمد ( ) والترمذيُّ ( ) من حديث يحيى بن جابر الطائي عن المقدام ، وخرَّجه النَّسائي ( ) من هذا الوجه ومن وجه آخر من رواية صالح بن يحيى بن المقدام عن جدّه ( ) ، وخرّجه ابنُ ماجه ( ) من وجه آخر عنه وله طرق أخرى ( ) .

وقد رُوي هذا الحديث مع ذكر سببه ، فروى أبو القاسم البغوي في 
" معجمه " من حديث عبد الرحمان بن المُرَقَّع ، قال : فتح رسولُ الله  خيبر وهي مخضرةٌ من الفواكة ، فواقع الناسُ الفاكهةَ ، فمغثتهمُ الحُمَّى ، فشَكَوْا إلى رسولِ الله  ، 
 
فقال رسولُ الله  : (( إنّما الحمى رائدُ الموت وسجنُ الله في الأرض ، وهي قطعةٌ من النار ، فإذا أخذتكم فبرِّدوا الماء في الشِّنان ، فصبُّوها عليكم بين الصَّلاتين )) يعني المغرب والعشاء ، قال : ففعلوا ذلك ، فذهبت عنهم ، فقال رسولُ الله  : 
 
มีเศาะฮาบะฮฺท่านหนึ่งกินอาหารมากจนกระทั่งเป็นไข้  ท่านนบีกล่าวว่า “แท้จริงไข้คือสัญญาณแห่งความตาย และเป็นบทลงโทษ เสมือนเรือนจำ(คุก)ของอัลลอฮฺในโลกนี้ (ความร้อน)เป็นส่วนหนึ่งจากนรก ถ้าเป็นไข้แล้วให้เอาน้ำมาเก็บในภาชนะ(ให้มันเย็น) แล้วเอาน้ำมาเช็ดตัวระหว่าง 2 เวลา (มักริบกับอิชาอฺ)” พอรักษาแล้ว นบีก็เรียกมาอบรม -- ชี้แจงความคลาดเคลื่อนในการนำหะดีษไปเผยแพร่
 
(( لم يخلُقِ الله وعاءً إذا مُلِئَ شرّاً من بطن ، فإن كان لابدَّ ، فاجعلوا ثُلُثاً للطَّعام ، وثُلثاً للشَّراب ، وثُلثاً للرِّيح )) ( ) .
26.0 “ไม่มีภาชนะที่มันจะเลวร้ายไปกว่ากระเพาะ ถ้าเราเอาอาหารมาบรรจุเลยเถิดไป หากมีความจำเป็นต้องกิจมากนัก (ก็ให้บริหาร) หนึ่งในสามสำหรับอาหาร, หนึ่งสามสำหรับเครื่องดื่ม และหนึ่งในสามสำหรับลม(ไว้หายใจ)
 (สำนวนนี้มีสายรายงานค่อนข้างอ่อนแอ แต่โดยรวมแล้วเนื้อหาเป็นที่ยอมรับของอุละมาอฺหะดีษ)
 
ประโยชน์ของการกินน้อยที่มีต่อสุขภาพร่างกาย
وهذا الحديثُ أصلٌ جامعٌ لأصول الطب كُلِّها . وقد رُوي أنَّ ابنَ أبي ماسويه ( ) الطبيبَ لمَّا قرأ هذا الحديث في كتاب أبي خيثمة ، قال : لو استعملَ الناسُ هذه الكلمات ، سَلِموا مِنَ الأمراض والأسقام ، ولتعطَّلت المارستانات ( ) ودكاكين الصيادلة ، وإنَّما قال هذا ؛ لأنَّ أصل كلِّ داء التُّخَم ، كما قال بعضهم : أصلُ كُلِّ داء البردةُ ، وروي مرفوعاً ولا يصحُّ رفعه ( ) .
อิบนุเราะญับบอกว่า หะดีษนี้เป็นหลักการสำคัญในวิชาการแพทย์
35.0 อิบนุอบีมาสะเวห์ หมอชื่อดังชาวคริสต์ในยุคสะลัฟ (ประมาณศตวรรษที่ 2) ได้ยินหะดีษนี้ เขาก็กล่าวว่า ถ้ามนุษย์บริหารกระเพาะแบบนี้ เขาจะปราศจากโรคต่างๆ โรงพยาบาลจะปิดประตูเลย ร้านขายยาก็ปิด (ไม่มีใครไปซื้อยา) 
المارستانات – โรงพยาบาล  
สาเหตุของโรคทุกชนิดคือความเอิบอิ่ม (อิ่มจนจุก     )  التُّخَم         
สำนวนนี้มีรายงานว่าเป็นหะดีษ แต่ไม่เศาะฮี้ฮ
 
وقال الحارث بن كَلَدَة طبيبُ العرب : الحِمية رأسُ الدواء ، والبِطنةُ رأسُ الداء ، ورفعه بعضهم ولا يصحُّ أيضاً ( ) .
แพทยอาหรับชื่อดังสมัยท่านนบีชื่อว่า อัลฮาริษ กล่าวไว้ว่า “การงดอาหาร คือหัวหน้าของยาบำบัด, แต่การบรรจุกระเพาะให้เต็มเป็นสาเหตุใหญ่ของโรคต่างๆ
 
وقال الحارث أيضاً : الذي قتل البرية ، وأهلك السباعَ في البرية ، إدخالُ الطعام على الطعام قبل الانهضام .
อัลฮาริษ “ที่คร่ามนุษย์ทั้งหลาย และคร่าสัตว์ดุทั้งหลาย คือไปกินอาหาร ตามอาหารที่ยังไม่ย่อย
وقال غيره : لو قيل لأهل القبور : ما كان سببُ آجالكم ؟ قالوا : التُّخَمُ ( ) .
فهذا بعض منافع تقليلِ الغذاء ، وتركِ التَّمَلِّي من الطَّعام بالنسبة إلى صلاح البدن وصحته .
47.0 นักปราชญ์กล่าวไว้ว่า ถ้ามีคนไปถามชาวกุโบร์ว่าตายเพราะอะไร เขาจะตอบว่า “เพราะอ้วน(กินมาก)”
นี่คือประโยชน์ของการลดปริมาณอาหาร และการละทิ้งการแสวงหาความสุขจากอาหาร 
อาหารไม่ได้ถูกสร้างมาเพื่อให้ความสุข เปลี่ยนทัศนะจาก “อาหาร” คู่กับ “อร่อย” เป็นอาหารมีประโยชน์ ไม่จำเป็นต้องอร่อยก็กินได้ 
 
การอดอยากบ้างหิวบ้างมีประโยชน์สำหรับหัวใจและนัฟซูมั้ย ?
وأما منافِعُه بالنسبة إلى القلب وصلاحه ، فإنَّ قلةَ الغذاء توجب رِقَّة القلب ، وقوَّة الفهم ، وانكسارَ النفس ، وضعفَ الهوى والغضب ، وكثرةُ الغذاء توجب ضدَّ ذلك .
52.30 นี่คือประโยชน์ของการประหยัดอาหารขณะบริโภคในด้านร่างกาย แล้วประโยชน์สำหรับหัวใจ จิตใจ หรือนัฟซูล่ะ มีมั้ย การอดอยากบ้างหิวบ้างมีประโยชน์สำหรับหัวใจและนัฟซูมั้ย ?
สำหรับหัวใจและความดีของหัวใจ อาหารน้อย นำมาซึ่งความอ่อนโยนของหัวใจ อยากอ่านกุรอานแล้วร้องไห้ อ่านแล้วขนลุก อยากละหมาดกิยามุลลัยลฺแล้วร้องไห้มั้ย ให้หิวนิดๆ อย่าให้อิ่ม
55.0 อาหารน้อยในกระเพาะจะทำให้หัวใจอ่อนโยน และความเข้าใจจะแข็งแกร่ง(เฉียบคม) และเกิดความถ่อมตน, (อาหารน้อยจะ)ระงับอารมณ์และความโมโห, และกินอาหารมากก็จะได้สิ่งตรงกันข้าม (นำมาซึ่งอารมณ์ ความโมโห ความตะกับบุรเย่อหยิ่ง)    
ท่านอะลีก็เป็นคนอ้วนมีพุง หัวโล้นหน่อย เป็นที่รู้กันว่าท่านเป็นนักรบ กล้าหาญ ถอนประตูป้อมได้ด้วยมือเดียว
 
قال الحسن : يا ابنَ آدم كُلْ في ثلث بطنك ، واشرب في ثلثٍ ، ودع ثُلُثَ بطنك يتنفَّس لتتفكر .
หะซัน อัลบัศรียฺ – โอ้ลูกหลานอาดัมเอ๋ย จงกินหนึ่งในสามของกระเพาะ ดื่มอีกหนึ่งในสาม และไว้อีกหนึ่งในสามให้หายใจ จะได้คิดไตร่ตรองได้
 
وقال المروذي : جعل أبو عبد الله : يعني : أحمدَ يُعظِّمُ أمر الجوع والفقر ، فقلت له : يُؤجر الرجل في ترك الشهوات ، فقال : وكيف لا يؤجر ، وابنُ عمر يقول : ما شبعت منذ أربعة أشهر ؟ قلت لأبي عبد الله : يجد الرجلُ مِنْ قلبه رقَّة وهو يشبع ؟ قال : ما أرى ( ) .
อัลมะรูซี – อิมามอะหมัดบรรยายครั้งหนึ่งพูดถึงประโยชน์ของความหิวและความยากจน
1.00 ท่านอุมัร อิบนุลค็อฏฏ๊อบ - พวกท่านนึกอยากจะกินอะไรก็ไปซื้อเหรอ ให้ระงับไว้บ้าง
1.03 การละทิ้งสิ่งที่อยากกินจะได้ผลบุญหรือไม่ อิมามอะหมัดบอกว่า จะไม่ได้ผลบุญได้อย่างไร ท่านอับดุลลอฮฺอิบนุอุมัรบอกว่า 4 เดือนแล้วที่ข้าพเจ้าไม่เคยกินอาหารอิ่มเลยสักมื้อ
หากคนหนึ่งคนใดกินและอิ่ม หัวใจจะอ่อนโยนมั้ย อิมามอะหมัดบอกว่า ไม่น่าจะได้
 
وروى المروذي عن أبي عبد الله قول ابن عمر هذا من وجوه ، فروى بإسناده عن ابن سيرين ، قال : قال رجل لابن عمر : ألا أجيئك بجوارش ؟ قال : وأيُّ شيء هو ؟ قال : شيءٌ يَهضِمُ الطعامَ إذا أكلته ، قال : ما شبعتُ منذ أربعةِ أشهر ، وليس ذاك أني لا أقدر عليه ، ولكن أدركت أقواماً يجوعون أكثرَ مما يشبعون ( ) .
وبإسناده عن نافع ، قال : جاء رجل بجوارش إلى ابن عمر ، فقال : ما هذا ؟ قال : جوارش : شيءٌ يُهضَمُ به الطعامُ ، قال : ما أصنع به ؟ إنِّي ليأتي عليَّ الشهرُ ما أشبع فيه من الطعام ( ) .
 

 

icon4