ญามิอุลอุลูมวัลหิกัม ครั้งที่ 168 (หะดีษที่ 32/7)

Submitted by admin on Fri, 09/05/2014 - 14:13
หัวข้อเรื่อง
ตัวอย่างการก่อความเสียหายที่อิสลามห้าม และแนวทางตัดสินเมื่อเกิดความเสียหายแล้ว, การชดใช้ แลกเปลี่ยน หรือบังคับให้ชดใช้เมื่อเสียหาย,
สถานที่
มัสยิด มูลนิธิสันติชน
วันที่บรรยาย
9 เราะญับ 1435
วันที่บรรยาย
วันที่อัพ
ขนาดไฟล์
18.00 mb
ความยาว
76.00 นาที
มีวีดีโอ
มี
รายละเอียด

الحديث الثاني والثلاثون
عَنْ أبي سَعيدٍ الخُدريِّ رضي الله عنه : أنَّ النَّبيَّ صلى الله عليه وسلم ، قالَ :
(( لا ضَرَرَ ولا ضِرارَ ))
 
حديثٌ حَسَنٌ ، رَواهُ ابنُ ماجه والدَّارقطنيُّ وغيرهما مُسنداً ، ورواهُ مالكٌ في  " الموطإ " عَن عَمْرو بن يحيى ، عَنْ أَبيهِ ، عَنِ النَّبيِّ  صلى الله عليه وسلم مُرسلاً ، فأَسقط أبا سعِيدٍ ، وله طُرُقٌ يَقْوى بَعضُها بِبَعْضٍ .
 
อบูสะอี๊ด อัลคุดรีย์ รายงานจากท่านนบีว่า ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม กล่าวว่า
 
“ไม่มีความเสียหายใดๆ (คือไม่อนุญาตให้ก่อความเสียหายใดๆ) แก่ผู้อื่น และไม่มีความเสียหายซึ่งกันและกัน”

 

ตัวอย่างการก่อความเสียหาย

- ก่อสร้างอะไรในพื้นที่ของตน โดยก่อความเสียหายแก่พื้นที่ของเพื่อนบ้าน เช่น การเขย่าต้นไม้ ตอกเสาเข็มในที่ของเราแต่กระเทือนถึงเพื่อนบ้าน(หรือทำให้บ้านเขาเสียหาย)
 
ومنها أنْ يحدث في ملكه ما يضرُّ بملك جاره من هزٍّ أو دقٍّ ونحوهما ، فإنَّه يُمنع منه في ظاهر مذهب مالك وأحمد ، وهو أحدُ الوجوه للشافعية .
ถ้าเราทำอะไรในเขตบ้านเราแต่มีกลิ่นเหม็นทำให้เพื่อนบ้านอยู่ในบ้านเขาไม่ได้ เช่น เลี้ยงเป็ด ก็ทำไม่ได้ 
وكذا إذا كان يضرُّ بالسُّكَّان ، كما له رائحةٌ خبيثة ونحو ذلك .
 
ที่ของเพื่อนบ้าน แต่เรามีทรัพย์สินอยู่ในนั้นถูกปักหลักไว้แล้ว เช่น 
ومنها أنْ يكونَ له ملكٌ في أرض غيره ، ويتضرَّرُ صاحبُ الأرض بدخوله 
إلى أرضه ، فإنَّه يُجبرُ على إزالته ليندفعَ به ضررُ الدخول ،
หะดีษ อบูญะอฺฟัร – สะมุรเราะฮฺ อิบนุญุนดุบ มีต้นอินทผลัมอยู่ในที่ของชาวอันศอร ชาวอันศอรสร้างบ้านมีครอบครัวอยู่ในที่ดินนั้น สะมุรเราะฮฺเข้าไปเก็บอินทผลัมในที่นั้น ปีนขึ้นต้นอินทผลัมก็เห็นในครอบครัวชาวอันศอรหมดเขาได้รับความเสียหาย จึงบอกกับสะมุรเราะฮฺว่าให้ชดใช้ เช่น ขายต้นอินทผลัมให้ฉัน, หรือแลกกัน  ให้ไปเอาต้นอินทผลัมของฉันที่อยู่ที่อื่นไป แล้วต้นนี้ให้ฉัน
ท่านนบีช่วยไกล่เกลี่ยตัดสินให้ทั้งคู่ โดยตั้งข้อเสนอหลายอย่าง สะมุรเราะฮฺก็ไม่ยอม ...
 
 وخرّج أبو داود في " سننه " ( ) من حديث أبي جعفر محمد بن علي أنَّه حدَّث سَمُرة بن جندبٍ أنَّه كانت له عَضُدٌ من نخلٍ في حائطِ رجلٍ من الأنصار ، ومع الرجل أهلُه ، وكان سمرة يدخل إلى نخله ، فيتأذَّى به ويشقُّ عليه ، فطلب إليه أنْ يُناقله ، فأبى ، فأتى النَّبيَّ  ، فذكر ذلك له ، فطلب إليه النَّبيُّ  أنْ يَبيعه ، فأبى ، فطلب إليه أنْ يُناقِلَه ، فأبى ، قال : (( فهَبْه له ولك كذا وكذا )) أمراً رغَّبه فيه ، فأبى ، فقال : (( أنت مُضارٌّ ))  เจ้าเป็นผู้ก่อความเสียหาย ، فقال النَّبيُّ  للأنصاري : (( اذهب فاقلع نخله )) ، وقد روي عن أبي جعفر مرسلاً . قال أحمد في رواية حنبل بعد أنْ ذُكِرَ له هذا الحديثُ : كلُّ ما كان على هذه الجهة ، وفيه ضرر يمنع من ذلك ، فإن أجاب وإلا أجبره السُّلطان ، ولا يضرُّ بأخيه في ذلك ، فيه مِرفَقٌ له .
อิมามอะหมัดบอกว่า ทุกกรณีที่มีการก่อความเสียหายเช่นนี้ ห้ามทำ แต่ถ้าหากมีความเสียหายเกิดขึ้นแล้วให้ชดใช้ แลกเปลี่ยน หรือซื้อขายกัน หรือไม่เช่นนั้นผู้ปกครองก็ต้องบังคับ 
 
وخرَّج أبو بكر الخلاّل من رواية عبد الله بن محمد بن عقيل عن عبد الله بن سَلِيط بن قيس ، عن أبيه : أنَّ رجلاً من الأنصار كانت له في حائطه نخلةٌ لرجلٍ آخر ، فكان صاحبُ النَّخلة لا يَريمُها غدوةً وعشيةً ، فشقَّ ذلك على صاحب الحائطِ ، فأتى النَّبيَّ  ، فذكر ذلك له ، فقال النَّبيُّ  لصاحب النخلة : (( خذ منه نخلةً ممَّا يلي الحائطَ مكان نخلتك )) ، قال : لا والله ، قال : (( فخذ منِّي ثنتين )) قال : لا والله ، قال : (( فهبها لي )) ، قال : لا والله ، قال : فردد عليه رسول الله  فأبى ، فأمر النَّبيُّ  أن يُعطيه نخلة مكان نخلته ( ) .
32.10 สวนอินทผลัมของอบูลุบาบะฮฺ
وخرّج أبو داود في "المراسيل" ( ) من رواية ابن إسحاق عن محمد بن يحيى بن حَبّان ، عن عمِّه واسع بن حبّان ، قال : كان لأبي لُبابَة عَذْقٌ في حائط رجلٍ ، فكلَّمه ، فقال : إنَّك تطأُ حائطي إلى عَذْقِكَ ، فأنا أُعطيكَ مثلَه في حائطك ، وأخرجه عنِّي ، فأبى عليه ، فكلَّم النَّبيَّ  فيه ، فقال : (( يا أبا لُبابة ، خذ مثل عَذقك ، فحُزْها إلى مالك ، واكفُفْ عن صاحبك ما يكره )) ، فقال : ما أنا بفاعل ، فقال : (( اذهب ، فأخرج له مثلَ عَذْقِه إلى حائطه ، ثم اضرب فوقَ ذلك بجدارٍ ، فإنه لا ضررَ في الإسلام ولا ضِرار )) .
 
หะดีษนี้และก่อนหน้านี้ ผู้ปกครองจะบังคับให้รับการชดใช้ได้ แต่จะยึดสิทธิของทรัพย์สินนั้นไม่ได้  
ففي هذا الحديث والذي قبلَه إجبارُه على المعاوضة حيث كان على شريكه أو جاره ضررٌ في تركه ، وهذا مثلُ إيجاب الشُّفعة لدفع ضررِ الشَّريك الطَّارئ .
 
สร้างอพาร์ทเม้นต์ด้วยกัน ลงทุนคนละครึ่ง เกิดแผ่นดินไหว เจ้าของต้องซ่อมแซมให้ผู้เช่า
ويُستدلُّ بذلك أيضاً على وجوب العمارة على الشَّريك الممتنع مِنَ العمارة ، 
การแบ่งมรดก หากแบ่งไม่ได้หรือแบ่งแล้วจะเสียหาย (เช่น บ้าน สิ่งก่อสร้าง ฯลฯ) ต้องบังคับขายเพื่อนำเงินมาแบ่งมรดก
وعلى إيجاب البيع إذا تعذَّرَت القسمة ، وقد ورد من حديث محمد بن أبي بكر ، عن أبيه مرفوعاً : (( لا تَعْضِية في الميراث إلا ما احتمل القسم )) ( ) وأبو بكر : هو 
 
ابن عمرو بن حزم ، قاله الإمام أحمد ، فالحديث حينئذ مرسل ، والتعضية : هي القسمة . ومتى تعذَّرَتِ القسمةُ ، لكون المقسوم يتضرَّرُ بقسمته ، وطلب أحدُ الشَّريكين البيعَ ، أجبر الآخر ، وقسم الثَّمنُ ، نصَّ عليه أحمدُ وأبو عبيد وغيرهما مِنَ الأئمة .
 
1- การก่อความเสียหายแก่คนอื่น โดยตนเองไม่ได้ประโยชน์
2- การก่อความเสียหายแก่คนอื่น โดยตนเองได้ประโยชน์
 
การก่อความเสียหายแก่คนอื่นมี 2 ประเภท
1- ก่อความเสียหายที่เราทำ แต่คนอื่นเสียหาย เช่น เผาขยะในบ้านเรา แต่ควันเข้าบ้านคนอื่น
 2- ความเสียหายที่เราไม่ได้ทำ แต่คนอื่นทำ เช่น  
 
 

 

WCimage
168