ญามิอุลอุลูมวัลหิกัม ครั้งที่ 158 (หะดีษที่ 31/7)

Submitted by admin on Sat, 09/11/2013 - 00:26
หัวข้อเรื่อง
มุมมองของมุสลิมต่อดุนยา, มุสลิมต้องมีบทบาทในการปรับปรุงดุนยา(สังคม)ให้ดีขึ้น, ทัศนะของสะลัฟต่อ "อัซซุฮดฺ"
สถานที่
บ้านทองทา บางกอกน้อย
วันที่บรรยาย
3 มุฮัรรอม 1435
วันที่บรรยาย
วันที่อัพ
ขนาดไฟล์
13.00 mb
ความยาว
74.00 นาที
มีวีดีโอ
มี
รายละเอียด

วีดีโอ

الحديث الحادي والثلاثون

عَنْ سهلِ بنِ سعْدٍ السَّاعِديِّ قال : جاءَ رجُلٌ إلى النَّبيِّ صلى الله عليه وسلم  فقالَ :  يا رَسولَ الله دُلَّني عَلى عَمَلٍ إذا عَمِلْتُهُ أَحَبَّنِي الله ، وأحَبَّنِي النَّاسُ ، فقال  : (( ازهَدْ فِي الدُّنيا يُحِبَّكَ الله ، وازهَدْ فيمَا في أيدي النَّاسِ يُحبَّكَ النَّاسُ )) .  حديثٌ حسنٌ رَواهُ ابنُ ماجه ( ) وغيرُهُ بأسانِيدَ حَسَنةٍ .
จากอบูอับบาส (สะฮลุบนุสะอดฺ อัสสาอิดี) กล่าวว่า มีชายคนหนึ่งไปหาท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม แล้วถามว่า “โอ้ท่านร่อซูลุลลอฮฺ ! ขอได้โปรดบอกฉันถึงการงานอย่างหนึ่งเมื่อฉันทำแล้วจะทำให้อัลลอฮฺทรงรักฉัน และการงานที่จะทำให้ผู้คนรักฉันด้วย” ท่านตอบว่า “จงดูถูกดุนยา(สมถะต่อดุนยา) แล้วอัลลอฮฺจะทรงรักท่าน และจงดูถูกสิ่งที่มีอยู่ในครอบครองของมนุษย์ แล้วมนุษย์จะรักท่าน”

 

وخرَّج الحاكم ( ) من حديث عبد الجبَّار بن وهب ، أنبأنا سعدُ بن طارق ، عن أبيه ، عن النَّبيِّ صلى الله عليه وسلم ، قال : (( نعمتِ الدَّارُ الدُّنيا لمن تزوَّد منها لآخرته حتّى يُرضِيَ ربَّهُ ، وبئستِ الدَّارُ لمن صدَّته عن آخرته ، وقصَّرت به عن رضا ربِّه ، وإذا قال العبد : قبَّحَ الله الدُّنيا ، قالت الدُّنيا : قبَّح الله أعصانا لربِّه )) وقال ( ) : صحيح الإسناد ، وخرَّجه العقيلي ( ) ، وقال : عبد الجبار بن وهب مجهول وحديثُه غير محفوظ ، قال : وهذا الكلام يُروى عن عليٍّ من قوله .
 
وقول عليٍّ خرَّجه ابنُ أبي الدُّنيا ( ) عنه بإسنادٍ فيه نظر : أنَّ علياً سمع رجلاً يسبُّ الدُّنيا ، فقال : إنَّها لدارُ صدق لمن صدقها ، ودارُ عافيةٍ لمن فهم عنها ، ودارُ غنى لمن تزوَّد منها ، مسجد أحبَّاءِ الله ، ومهبِطُ وحيِهِ ، ومُصَلّى ملائكتِهِ ، ومتجَرُ أوليائه ، اكتسبوا فيها الرَّحمَةَ وربحُوا فيها الجَنَّة ، فمن ذا يذمُّ الدُّنيا وقد آذنت بفراقها ، ونادت بعيبها ، ونعت نفسها وأهلَها ، فمثَّلت ببلائها البلاءَ ، وشوَّقت بسرُورها إلى السُّرور، فذمَّها قومٌ عندَ النَّدامة ، وحمِدها آخرون ، حدَّثتهم فصدقوا ، وذكَّرتهم فذكروا ؟ فيا أيُّها المغترُّ بالدُّنيا، المغترُّ بغرورها، متى استلامت إليك الدُّنيا ؟ بل متى غرَّتك ؟ أبمضاجعِ آبائك مِنَ الثرى ؟ أم بمصارع أُمَّهاتك منَ البلى ؟ كم قد قلَّبت بكفيك ، ومرَّضت بيديك تطلب له الشِّفاءَ ، وتسأل له الأطباء ، فلم تظفر بحاجتك ، ولم تُسعَفْ بطلبَتِكَ ، قد مثَّلت لك الدُّنيا بمصرعه مصرَعَك غداً ، ولا يُغني عنك بكاؤك ، ولا ينفعُك أحبَّاؤك .
ท่านอะลี อิบนุอบีฏอลิบ ได้ยินชายคนหนึ่งด่าดุนยา ท่านจึงกล่าวว่า แท้จริงดุนยานี้เป็นบ้านแห่งความสัจจะ สำหรับผู้ที่มีความสัจจริง
และเป็นบ้านแห่งความปลอดภัยสำหรับคนที่เข้าใจโลกดุนยา
และเป็นบ้านแห่งความมั่งคั่ง หากเราได้สะสมตามแนวทางที่ถูกต้อง
ในดุนยานี้มีมัสญิดแห่งผู้ที่รักใคร่กันในหนทางของอัลลอฮฺตะอาลา
และดุนยานี้เป็นสถานที่แห่งการรับวะฮยฺจากอัลลอฮฺตะอาลา(มายังนบีและร่อซูล)
และดุนยานี้ก็เป็นที่ที่มลาอิกะฮฺลงมาละหมาด(เป็นที่ละหมาด,ขอดุอาอฺ)
และเป็ฯที่ทำธุรกิจสำหรับคนของอัลลอฮฺ (คนที่แสวงหาริสกีที่หะล้าล)
ในโลกดุนยานี้ผู้ศรัทธาได้สะสมความเมตตาจากอัลลลอฮฺและได้ผลบุญซึ่งสวนสวรรค์จากอัลลอฮฺ(จากการทำความดีบนดุนยา)
 
(ท่านอะลีตำหนิคนที่ด่านดุนยา) ใครเล่าที่ไม่รู้เรื่อง(ตำหนิดุนยา) ทั้งๆที่ดุนยาประกาศกับทุกคนว่าอีกไม่นานก็จะจากดุนยาไป (อยู่เพียงชั่วคราวเท่านั้น)
อะไรที่ไม่ดี ดุนยาก็ประกาศอยู่แล้วว่ามันไม่ดี และได้ประกาศความเสียใจให้ผู้คนทั้งหลายได้รู้ถึงความไม่ยาวนาน(ไม่ยั่งยืน)ของดุนยานี้
ดุนยานี้ได้ให้ตัวอย่างแห่งการทดสอบด้วยบททดสอบ(ดุนยากำลังบอกกับทุกคนว่าอย่าไว้ใจฉันนะ คืออย่าคิดว่าทุกอย่างตามอารมณ์ความต้องการของเรา)
....................
 
فبين أميرُ المؤمنين رضي الله عنه أنَّ الدُّنيا لا تُذَمُّ مطلقاً ، وأنَّها تُحمدُ بالنِّسبة إلى من تزوَّد منها الأعمال الصالحة ، وأنَّ فيها مساجدَ الأنبياءِ ، ومهبطَ الوحي ، وهي دار التِّجارة للمؤمنين ، اكتسبوا فيها الرَّحمة ، وربحوا بها الجَنَّة ، فهي نِعمَ الدَّارُ لمن كانت هذه صفَته . وأمَّا ما ذكر من أنَّها تَغُرُّ وتخدَعُ ، فإنَّها تُنادي بمواعظها ، وتنصحُ بعبرها ، وتُبدي عيوبَها بما تُري أهلها من مصارع الهلكى ، وتقلُّبِ الأحوال مِنَ الصِّحَّة إلى السَّقم ، ومِنَ الشَّبيبة إلى الهرم ، ومن الغنى إلى الفقر ، ومن العِزِّ إلى الذُّلِّ ، لكنَّ مُحِبَّها قد أصمَّه وأعماه حبُّها ، فهو لا يسمع نداءها ، كما قيل :
 
قدْ نادَتِ الدُّنيا على نَفسِها   لَوْ كانَ في العَالَمِ مَنْ يَسمَعُ
كَمْ وَاثِقٍ بالعُمْرِ أَفْنَيتُهُ    وجَامِعٍ بَدَّدَتُ ما يَجْمَعُ
 
قال يحيى بنُ معاذ : لو يسمع الخلائقُ صوتَ النِّياحةِ على الدُّنيا في الغيبِ من ألسنةِ الفناءِ ، لتساقطت القلوبُ منهم حُزناً ( ) .