ญามิอุลอุลูมวัลหิกัม ครั้งที่ 157 (หะดีษที่ 31/6)

Submitted by admin on Fri, 04/10/2013 - 16:30
หัวข้อเรื่อง
วัตถุประสงค์ของดุนยา, ดุนยาเป็นสถานที่ตักตวงความดีเพื่ออาคิเราะฮฺ, "ดุนยานั้นเป็นคุกของมุอฺมิน และเป็นสวนสวรรค์ของกาฟิร"
สถานที่
บ้านทองทา บางกอกน้อย
วันที่บรรยาย
27 ซุลเก๊าะดะฮฺ 1434
วันที่บรรยาย
วันที่อัพ
ขนาดไฟล์
18.00 mb
ความยาว
104.00 นาที
มีวีดีโอ
มี
รายละเอียด

วีดีโอ 1

วีดีโอ 2

الحديث الحادي والثلاثون

عَنْ سهلِ بنِ سعْدٍ السَّاعِديِّ قال : جاءَ رجُلٌ إلى النَّبيِّ صلى الله عليه وسلم  فقالَ :  يا رَسولَ الله دُلَّني عَلى عَمَلٍ إذا عَمِلْتُهُ أَحَبَّنِي الله ، وأحَبَّنِي النَّاسُ ، فقال  : (( ازهَدْ فِي الدُّنيا يُحِبَّكَ الله ، وازهَدْ فيمَا في أيدي النَّاسِ يُحبَّكَ النَّاسُ )) .  حديثٌ حسنٌ رَواهُ ابنُ ماجه ( ) وغيرُهُ بأسانِيدَ حَسَنةٍ .
จากอบูอับบาส (สะฮลุบนุสะอดฺ อัสสาอิดี) กล่าวว่า มีชายคนหนึ่งไปหาท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม แล้วถามว่า “โอ้ท่านร่อซูลุลลอฮฺ ! ขอได้โปรดบอกฉันถึงการงานอย่างหนึ่งเมื่อฉันทำแล้วจะทำให้อัลลอฮฺทรงรักฉัน และการงานที่จะทำให้ผู้คนรักฉันด้วย” ท่านตอบว่า “จงดูถูกดุนยา(สมถะต่อดุนยา) แล้วอัลลอฮฺจะทรงรักท่าน และจงดูถูกสิ่งที่มีอยู่ในครอบครองของมนุษย์ แล้วมนุษย์จะรักท่าน”

----------- บางส่วนจากการบรรยาย ---------

ปัญญาชนมุสลิมต้องไม่ปล่อยทิ้งซึ่งเวลา 4 ช่วงสำคัญคือ (ทุกคนต้องมี 4 ช่วงเวลานี้)

- ช่วงหนึ่ง ทบทวนตัวเอง อย่าปล่อยชีวิตโดยไม่คิดบัญชี ทบทวนว่าอิบาดะฮฺครบมั้ย มีความสุขในการทำหรือไม่ บาปเยอะมั้ย หะล้าล โกหกบ้างมั้ย
- ช่วงที่ 2 เอาไว้สนทนากับอัลลอฮฺ ดุอาอฺ(วิงวอน)กับอัลลอฮฺ
- ช่วงที่ 3 พบปะพี่น้องที่มีความศรัทธา ที่จะพูดถึงข้อตำหนิของเขาที่คนอื่นไม่กล้ามาบอก ให้ความจริงโดยไม่ปกปิดมดเท็จ
- ช่วงที่ 4 ปล่อยนัฟซูตัวเอง ทำในสิ่งที่หะล้าล เช่น สนุกสนาน กินอาหาร ร้องนะชีดขณะเดินทาง เล่นกีฬา ฯลฯ เรื่องนี้อาจจะเกินความจำเป็นแต่ทำให้บรรลุเป้าหมาย และจะทำให้หัวใจมีความกระตือรือร้นไม่เบื่อหน่าย โดยการตั้งเจตนา(เหนียต)เพื่อที่จะทำสิ่งที่หะล้าลทำงานศาสนาต่อไปซึ่งจะทำให้มีผลบุญด้วย เช่น นอนพักผ่อนเพื่อที่จะตื่นละหมาดกลางคืน
 

เนื้อหาประกอบการบรรยาย

قال وهب : إنَّ الله تعالى قال لموسى عليه السلام : إنِّي لأذودُ أوليائي عن نعيم الدُّنيا ورخائها كما يذودُ الرَّاعي الشفيقُ إبِلَه عن مبارك العُرَّةِ ، وما ذلك لهوانهم عليَّ ، ولكن ليستكملوا نصيبهم من كرامتي سالماً موفراً لم تَكْلَمْه الدُّنيا ( ) . 
อัลลอฮฺตรัสกับนบีมูซาว่า ฉันจะกีดกั้นที่รักของฉันจากความสุขสบายกว้างขวางของดุนยาไม่ให้ประสบกับเขา  เฉกเช่นที่คนที่เลี้ยงอูฐจะกีดกั้นอูฐที่เขาเลี้ยงไม่ให้ไปนั่งในที่ที่มีหนาม
 
ويشهد لهذا ما خرَّجه الترمذي عن قتادة بن النُّعمان ، عن النَّبيِّ صلى الله عليه وسلم ، قال : (( إنَّ الله إذا أحبَّ عبداً حماه عَنِ الدُّنيا ، كما يَظَلُّ أحدُكُمْ يحمي سقيمَه الماءَ )) ( ) ، وخرَّجه الحاكم ( ) ، ولفظه : (( إنَّ الله ليحمي عبدَه الدُّنيا وهو يحبُّه ، كما تحمُونَ مريضَكم الطَّعام والشراب ، تخافون عليه )) .
يشهد - สิ่งที่มีในหลักการและมาสมทบกับเนื้อหาข้างต้นนี้ (รายงานจากเตารอต)
- "แท้จริง ถ้าอัลลอฮฺบ่าวคนหนึ่งคนใด อัลลอฮฺจะปกป้องเขาจากดุนยา(ไม่ให้ไปจมกับดุนยา) เฉกเช่นที่คนหนึ่งคนใดในหมู่พวกเขา เมื่อเขาเป็นโรคที่ไม่ให้ดื่มน้ำเยอะ 
- แท้จริงอัลลอฮฺจะปกป้องบ่าวของพระองค์จากดุนยา ทั้งๆที่พระองค์รักบ่าวคนนั้น เฉกเช่นที่พวกท่านปกป้องคนป่วยของพวกท่านไม่ให้กินอาหารหรือเครื่องดื่มบางชนิด เพราะพวกท่านสงสาร(เป็นห่วง)เขา
 
وفي " صحيح مسلم " ( ) عن عبد الله بن عمرو ، عن النَّبيِّ صلى الله عليه وسلم ، قال : (( الدُّنيا سجنُ المؤمن ، وجنَّة الكافر )) .
"ดุนยานั้นเป็นคุกของมุอฺมิน และเป็นสวนสวรรค์ของกาฟิร"
 
وأمَّا السَّابقُ بالخيرات بإذن الله ، فهمُ الَّذينَ فهِمُوا المرادَ مِنَ الدُّنيا ، وعَمِلُوا بمقتضى ذلك ، فعلموا أنَّ الله إنَّما أسكنَ عبادَه في هذه الدَّارِ ، ليبلوهم أيُّهم أحسنُ 
عملاً ،
 
كما قال :  وَهُوَ الَّذِي خَلَقَ السَّمَاوَاتِ وَالأَرْضَ فِي سِتَّةِ أَيَّامٍ وَكَانَ عَرْشُهُ عَلَى الْمَاءِ لِيَبْلُوَكُمْ أَيُّكُمْ أَحْسَنُ عَمَلاً  ( ) ،
และพระองค์คือผู้สร้างชั้นฟ้าทั้งหลายและแผ่นดินในระยะหกวัน และบัลลังก์ของพระองค์อยู่เหนือน้ำ เพื่อพระองค์จะทรงทดสอบพวกท่านว่า ผู้ใดในหมู่พวกท่านมีการงานที่ดีเยี่ยม (ซูเราะฮฺฮูด 11:7)
 وقال :  الَّذِي خَلَقَ الْمَوْتَ وَالْحَيَاةَ لِيَبْلُوَكُمْ أَيُّكُمْ أَحْسَنُ عَمَلاً  ( ) .
67:2 พระผู้ทรงให้มีความตายและให้มีความเป็น เพื่อจะทดสอบพวกเจ้าว่า ผู้ใดบ้างในหมู่พวกเจ้าที่มีผลงานดียิ่ง
قال بعض السَّلف : أيهم أزهد في الدُّنيا ، وأرغبُ في الآخرة ، وجعل ما في الدُّنيا مِنَ البهجة والنُّضرة مِحنَةً ، لينظر من يقف منهم معه ، ويَركَن إليه ، ومن ليس كذلك ، 
49.0
สะลัฟบางท่านกล่าวว่า “ที่อัลลอฮฺทดสอบพวกเราจะได้ดูว่าใครจะขยันทำความดีมากกว่า คืออัลลอฮฺจะทดสอบว่าใครที่ดูถูกดุนยามากกว่า  ปรารถนาอาคิเราะฮฺมากกว่า และถือว่าความสุขสบายบนดุนยานี้เป็นบททดสอบ และเพื่อทดลองดูว่าใครที่จะเลือกฝักใฝ่อัลลอฮฺและพึ่งพระองค์ และเพื่อให้ปรากฏว่าใครที่ไม่ได้เป็นเช่นนั้น”
เชคริฎอ “ความรู้ที่สร้างความสว่าง ไม่ใช่สตางค์ ไม่ใช่ความฉลาดความเก่ง ความรู้ต่างหาก”
 
كما قال تعالى :  إِنَّا جَعَلْنَا مَا عَلَى الأَرْضِ زِينَةً لَهَا لِنَبْلُوَهُمْ أَيُّهُمْ أَحْسَنُ عَمَلاً  ( ) ثم بين انقطاعه ونفاده ، فقال :  وَإِنَّا لَجَاعِلُونَ مَا عَلَيْهَا صَعِيداً جُرُزاً ( ) ،
18:7 แท้จริงเราได้ทำให้สิ่งที่อยู่บนแผ่นดินเป็นที่ประดับสำหรับมัน เพื่อเราจะทดสอบพวกเขาว่า ผู้ใดในหมู่พวกเขามีผลงานที่ดีเยี่ยม (อัลกะฮฟฺ 7)
18:8 และแน่นอนเราเป็นผู้ทำให้สิ่งที่อยู่บนแผ่นดินนี้ราบ(เกลี้ยง)
 فلمَّا فهِموا أنَّ هذا هو المقصود مِنَ الدُّنيا ، جعلوا همَّهم التزوُّدَ منها للآخرة التي هي دارُ القرار ، واكتفوا مِنَ الدُّنيا بما يكتفي به المسافرُ في سفره ، 
พอชาวอาคิเราะฮฺรู้แล้วว่าเป้าหมายของดุนยาคืออาคิเราะฮฺ เขาก็ตั้งเป้าหมายของเขาคือการสะสมจากดุนยานี้เพื่อบรรลุอาคิเราะฮฺ เพราะอาคิเราะฮฺคือบ้านที่ยั่งยืน(ถาวร, ดารุลเกาะรอร)
และเขาจะมีความเพียงพอต่อดุนยา เฉกเช่นคนเดินทางที่มีเสบียงเพียงพอสำหรับเขา
كما كان النَّبيُّ صلى الله عليه وسلم يقول : (( ما لي وللدُّنيا ، إنَّما مثلي ومثل الدُّنيا كراكبٍ قالَ في ظلِّ شجرةٍ ، ثم راح وتركها )) ( ) .
ท่านนบีพูดว่า “ฉันจะเอาอะไรกับดุนยานี้ (ดุนยาจะเอาอะไรกับฉัน อย่ามายุ่งกับฉัน) อุปมาฉันกับดุนยา อุปมัยดังคนขี่พาหนะ เดินทางไกล แล้วไปพักผ่อนใต้ร่มเงา เมื่อพักผ่อนเสร็จเขาก็เดินทางต่อไป ทิ้งมันไว้ (คือร่มเงา ต้นไม้ผลไม้ ความสุขสบายที่ตรงนั้น)
ووصَّى صلى الله عليه وسلم جماعةً من الصحابة أنْ يكون بلاغُ أحدِهم مِنَ الدُّنيا كزادِ الراكب ، منهم : سلمان ( ) ، وأبو عبيدة بن الجراح ، وأبو ذرٍّ ، وعائشة ( ) ، ووصَّى ابنَ عمرَ أنْ يكونَ في الدُّنيا كأنَّه( ) غريبٌ أو عابرُ سبيل ، وأنْ يَعُدَّ نفسه من أهل القبور ( ) .
ท่านนบีสั่งเสียเศาะฮาบะฮฺกลุ่มหนึ่ง(ที่เคร่งครัด)ว่า ให้ทรัพย์สินของพวกท่านบนดุนยานี้ เปรียบเสมือนทรัพย์ของคนเดินทาง – หนึ่งในกลุ่มนั้นคือ ซัลมานอัลฟาริซี อบูอุบัยดะฮฺอิบนุลญัรรอหฺ อบูซัรรฺอัลฆิฟารี และอาอิชะฮฺ
และท่านได้สั่งเสีย อับดุลลอฮฺ อิบนุอุมัร ให้อยู่บนโลกดุนยาเปรียบเสมือนคนแปลกหน้า หรือคนเดินทาง ให้นับตนเองว่าเป็นสมาชิกคนหนึ่งของชาวกุโบร์ (ใกล้จะเป็นคนตายแล้ว ก็ไม่ควรจะติดใจอะไรกับโลกนี้)
 
وأهل هذه الدرجة على قسمين : منهم من يقتصرُ من الدُّنيا على قدر ما يسدُّ الرَّمق فقط ، وهو حالُ كثيرٍ من الزُّهَّادِ . ومنهم من يفسح لنفسه أحياناً في تناول بعض شهواتِها المباحةِ ؛ لتقوى النَّفسُ بذلك ، وتنشَط للعملِ ، كما روي عنِ النَّبيِّ صلى الله عليه وسلم : أنَّه قال : (( حُبِّبَ إليَّ من دنياكمُ النِّساءُ والطِّيبُ ، وجُعِلَتْ قُرَّةُ عيني في الصَّلاة )) خرَّجه الإمام أحمد ( ) والنَّسائي ( ) من حديث أنس .
คนที่สมถะมี 2 กลุ่ม กลุ่มหนึ่งสะสมจากดุนยานี้ให้เพียงพอที่จะพ้นความตาย(ให้พอมีชีวิตอยู่ได้) คนที่มีซุฮดฺส่วนมากเป็นแบบนี้ อะไรที่เกินความจำเป็นจะไม่เอา  คือเศาะฮาบะฮฺและบรรดาสะลัฟส่วนมาก
และอีกกลุ่ม เปิดกว้างให้ตัวเขาเองสามารถบริโภค สะสมบางส่วนของความสำราญสุขสบายที่หะล้าล เพื่อให้จิตใจมีความแข็งแกร่ง ยืนหยัดต่อสู้ได้ มีความขะมักเขม้นในการทำอิบาดะฮฺ 
เฉกเช่นที่มีรายงานจากท่านนบีว่า “จากดุนยานี้ สิ่งที่ฉันชอบคือ น้ำหอมและผู้หญิง, และ(ข้าพเจ้ารู้สึกมีความสุขมาก) สิ่งที่ทำให้ดวงตามีความนิ่งคือการละหมาด (มีความสุขในการละหมาด)
 
وخرَّج الإمام أحمد ( ) من حديث عائشة ، قالت : كان رسول الله صلى الله عليه وسلم يحبُّ من الدُّنيا النِّساء والطِّيب والطعام ، فأصاب من النِّساءِ والطِّيبِ ، ولم يُصب من الطَّعامِ .
 
وقال وهب : مكتوبٌ في حكمة آل داود عليه السلام : ينبغي للعاقل أنْ لا يَغْفُل عن أربع ساعاتٍ : ساعةٍ يُحاسِبُ فيها نفسه ، وساعةٍ يُناجي فيها ربَّه ، وساعةٍ يلقى فيها إخوانه الذين يُخبرونه بعيُوبه ، ويُصدقونه عن نفسه ، وساعةٍ يُخلي بين نفسه وبين لذَّاتها فيما يحلُّ ويجمل ، فإنَّ في هذه السَّاعة عوناً على تلك الساعات ، وفضلَ بُلغة واستجماماً للقلوب ، يعني : ترويحاً لها ( ) .
ومتى نوى المؤمن بتناول شهواته المباحة التقوِّي على الطاعة كانت شهواتُه له طاعة يُثابُ عليها ، كما قال معاذ بن جبل : إنِّي لأحتسب نومتي كما أحتسب قومتي ( ) ، يعني : أنَّه ينوي بنومه التَّقوِّي على القيام في آخر الليل ، فيحتسِبُ ثوابَ نومهِ كما يحتسب ثواب قيامه . وكان بعضهم إذا تناول شيئاً من شهواته المباحة واسى منها إخوانَه ، كما روي عن ابن المبارك أنَّه كان إذا اشتهى شيئاً لم يأكلْه حتّى يشتهيه بعضُ أصحابه ، فيأكله معهم ، وكان إذا اشتهى شيئاً ، دعا ضيفاً له ليأكل معه .
وكان يذكر عن الأوزاعي أنَّه قال : ثلاثة لا حسابَ عليهم في مطعمهم : 
المتسحِّر ، والصائم حين يفطر ، وطعام الضيف ( ) .
وقال الحسن : ليس مِن حبك للدُّنيا طلبك ما يصلحك فيها ، ومن زهدك فيها ترك الحاجة يسدها عنك تركها ، ومن أحبَّ الدُّنيا وسرَّته ، ذهب خوفُ الآخرة من قلبه .
وقال سعيد بن جبير : متاعُ الغرور ما يُلهيك عن طلب الآخرة ، وما لم يُلهك فليس بمتاع الغرور ، ولكنَّه متاعُ بلاغٍ إلى ما هو خيرٌ منه ( ) .
 
وقال يحيى بنُ معاذ الرازي : كيف لا أُحِبُّ دنيا قُدِّر لي فيها قوتٌ ، أكتسب بها حياةً ، أُدركُ بها طاعةً ، أنالُ بها الآخرة .
ยะหฺยาอิบนุมุอ๊าซ ถูกถามว่าชอบดุนยามั้ย เขาตอบว่า “ฉันจะไม่ชอบดุนยาได้อย่างไร ซึ่งมีริสกี(ปัจจัยยังชีพ) ปัจจัยยังชีพนี้ทำให้สามารถมีชีวิต ชีวิตที่สามารถทำความดี(อิบาดะฮฺต่ออัลลอฮฺ) เพื่อบรรลุอาคิเราะฮฺ
 
وسئل أبو صفوان الرّعيني - وكان من العارفين - : ما هي الدُّنيا التي ذمَّها الله في القرآن التي ينبغي للعاقل أنْ يجتنبها ؟ فقال : كلُّ ما أصبت في الدُّنيا تريدُ به الدُّنيا ، فهو مذمومٌ ، وكلُّ ما أَصبتَ فيها تريدُ به الآخرة ، فليس منها ( ) .
وقال الحسن : نعمت الدار كانت الدُّنيا للمؤمن ، وذلك أنَّه عمل قليلاً ، وأخذ زاده منها إلى الجنَّة ، وبئست الدار كانت للكافر والمنافق ، وذلك أنَّه ضيَّع لياليه ، وكان زادُه منها إلى النار ( ) .
 
وقال أيفع بنُ عبدٍ الكَلاعيُّ : قال رسول الله صلى الله عليه وسلم : (( إذا دخل أهل الجنَّةِ الجنَّة وأهل النار النارَ ، قال الله : يا أهل الجنة ، كَمْ لَبِثْتُم في الأرضِ عَدَدَ سِنين ؟ قالوا : لَبِثْنَا يَوماً أَوْ بَعْضَ يَومٍ ، قال : نعم ما اتجرتم في يومٍ أو بعض يوم ، رحمتي ورضواني وجنتي ، امكثوا فيها خالدين مخلدين ، ثم يقول لأهل النار : كم لبثتم في الأرض عددَ سنين ؟ قالوا : لبثنا يوماً أو بعض يوم ، فيقول : بئس ما اتَّجرتم في يومٍ أو بعض يومٍ ، سخطي ومعصيتي وناري ، امكثوا فيها خالدين مخلدينَ )) ( ) .