ความประเสริฐของ 3 มัสญิด -มัสญิดหะรอม, มัสญิดนบี, มัสญิดอัลอักศอ

Submitted by dp6admin on Fri, 19/03/2010 - 21:35
หัวข้อเรื่อง
المقدسة الثلاثة المساجد
มัสญิดหะรอม(มักกะฮฺ), มัสญิดเราะซูล(มะดีนะฮฺ), มัสญิดอัลอักศอ(อัลกุดสฺ)
มัสญิดทั้งสามถูกสร้างเมื่อใด ? ใครเป็นผู้สร้าง ?
ความประเสริฐของการละหมาดที่มัสญิดทั้งสาม
สถานที่
มัสญิดบ้านตึกดิน ราชดำเนิน
วันที่บรรยาย
วันที่อัพ
ขนาดไฟล์
9.90 mb
มีวีดีโอ
ไม่มี
รายละเอียด

المقدسة الثلاثة المساجد

المقدسة แปลว่า ศักดิ์สิทธิ์
- มีลักษณะพิเศษกว่าที่อื่น
- มีความประเสริฐกว่าในด้านอิบาดะฮฺ

قال رسول الله صلى الله عليه وسلم: «لا تُشَدُّ الرِّحَالُ إِلاَّ إِلَى ثَلاثَةِ مَسَاجِد: المَسْجِدِ الحَرَام، وَمَسْجِدِي هَذَا، وَالمَسْجِدِ الأَقْصَي»
ท่านนบี ﷺ ได้กล่าวว่า "ไม่อนุญาตให้เตรียมตัวเพื่อเดินทางไปยังมัสญิด(หรือสถานที่)อื่น ยกเว้น 3 มัสญิดเท่านั้น คือ มัสญิดหะรอม (มักกะฮฺ), มัสญิดเราะซูล (มะดีนะฮฺ), มัสอัลอักศอ (อัลกุดสฺ)

قال السبكي الكبير : ليس في الأرض بقعة لها فضل لذاتها حتى تشد الرحال إليها غير البلاد الثلاثة ، ومرادي بالفضل المراد به ما شهد الشرع باعتباره ، ورتب عليه حكما شرعيا ، وأما غيرها من البلاد فلا تشد إليها لذاتها ، بل لزيارة أو جهاد أو علم أو نحو ذلك من المندوبات أو المباحات 

มัสญิดทั้งสามถูกสร้างเมื่อใด ?

عن إبراهيم التيمي، عن أبيه، قال: سمعت أبا ذر رضي الله عنه، قال: قلت يا رسول الله، أي مسجد وضع في الأرض أول؟ قال: «المسجد الحرام» قال: قلت: ثم أي؟ قال «المسجد الأقصى» قلت: كم كان بينهما؟ قال: «أربعون سنة، ثم أينما أدركتك الصلاة بعد فصله، فإن الفضل فيه»
صحيح البخاري | كتاب أحاديث الأنبياء باب (حديث رقم: 3366 )

อบูซัรรฺได้ถามว่า "โอ้ท่านร่อซูลุลลอฮฺ มัสญิดใดที่ถูกสร้างบนโลกนี้เป็นมัสญิดแรก ?"
ท่านนบีตอบว่า "มัสญิดหะรอม"
อบูซัรรฺถามต่อว่า "แล้วหลังจากนั้นล่ะครับ ?"
ท่านนบีกล่าวว่า "มัสญิดุลอักศอ"
อบูซัรรฺถามท่านนบีว่า "ระหว่างมัสญิดทั้งสอง(เป็นระยะเวลา)เท่าใด?"
ท่านนบีตอบว่า "สี่สิบปี ท่านละหมาดที่ไหนในมัสญิดอักศอ ก็ละหมาดที่นั่น เพราะมีความประเสริฐ(แน่นอน)"

ใครเป็นผู้สร้างมัสญิดหะรอมและอัสญิดอักศอ ?

ความประเสริฐของการละหมาดที่มัสญิดทั้งสาม

ท่านนบี ﷺ ได้กล่าวว่า "การละหมาดที่มัสญิดของฉันนี้ (ที่มะดีนะฮฺ) ดีกว่าการละหมาดพันครั้งในมัสญิดอื่น หรือมากกว่า เว้นแต่ (การละหมาด) ที่มัสญิดหะรอมเท่านั้น (ที่การละหมาดในมัสญิดของฉันจะไม่ประเสริฐกว่า)"
ท่านนบี ﷺ ได้กล่าวว่า "การละหมาดที่มัสญิดของฉันนี้ ประเสริฐกว่าการละหมาดหนึ่งพันครั้งในมัสญิดอื่น ยกเว้นมัสญิดหะรอม และการละหมาดที่มัสญิดหะรอมนั้นประเสริฐกว่าการละหมาดที่มัสญิดของฉันหนึ่งร้อยเท่า"
ท่านนบี ﷺ ได้กล่าวว่า "การละหมาดที่มัสญิดของฉัน ดีกว่าการละหมาดสี่วักตู(สี่ครั้ง)ที่บัยตุลมักดิส (มัสญิดอัลอักศอ)"

اختلفت الأحاديث في فضل الصلاة في المسجد الأقصى

-فمنها ما يجعل الصلاة فيه بخمسمائة صلاة، كحديث أبي الدرداء الذي ذكرناه في الفتوى التي أشار إليها السائل - حفظه الله - وله شاهد عند ابن عدي من حديث جابر رضي الله عنه، وإسناده ضعيف.
-ومنها ما يجعل الصلاة فيه تعدل مائتين وخمسين صلاة، وهو ما رواه الحاكم والدارقطني في العلل، عن أبي ذربنهن: مرفوعا :-صلاة في مسجدي هذا أفضل من أربع صلوات في بيت المقدس .
«ومنها ما بجعل الصلاة فيه تعدل ألف صلاة في غيره، وهو حديث ميمونة بنت سعد عند أبي دارد وابن ماجه وأحمد، وقال ابن مفلح في الآداب :رجاله نقات .
-ومنها ما يجعل الصلاة فيه تعدل حمسين ألف صلاة، وهو حديث أنس رضي الله عنه، عند ابن ماجه ، وفيه جهالة، كما أشار إلى ذلك العراقي .
-ومنها ما يجعل الصلاة فيه بمائة صلاة، وهو ما رواه أحمد وابن عبد البر في التمهيد، عن الأرقم  رضي الله عنه مرفوعا :- والصلاة بمكة خير من ألف صلاة ببيت المقدس  .قال ابن عبد البر : هذا حديث ثابت.
وقد رجح العراقي في طرح التنريب الأحاديث التي فيها أن الصلاة في بيت المقدس بألف صلاة،

 

WCimage
ความประเสริฐของ 3 มัสญิด