ซูเราะตุลบะเกาะเราะฮฺ 28 (อายะฮฺที่ 133-137)

Submitted by dp6admin on Sun, 11/10/2009 - 16:25
หัวข้อเรื่อง
นบียะอฺกู๊บ, ศาสนาของอัลลอฮฺ, แนวทางที่เที่ยงตรงคือแนวทางของนบีต่างๆ
สถานที่
บ้านพงษ์พรรฦก บางกอกน้อย
วันที่บรรยาย
วันที่อัพ
ขนาดไฟล์
10.80 mb
มีวีดีโอ
มี
รายละเอียด

 

أَمْ كُنتُمْ شُهَدَاء إِذْ حَضَرَ يَعْقُوبَ الْمَوْتُ إِذْ قَالَ لِبَنِيهِ مَا تَعْبُدُونَ مِن بَعْدِي قَالُواْ نَعْبُدُ إِلَـهَكَ وَإِلَـهَ آبَائِكَ إِبْرَاهِيمَ وَإِسْمَاعِيلَ وَإِسْحَاقَ إِلَـهاً وَاحِداً وَنَحْنُ لَهُ مُسْلِمُونَ ﴿١٣٣﴾ 

133. หรือว่าพวกเจ้าอยู่ด้วย เมื่อความตายได้เยี่ยมกรายยะอฺกูบ ขณะที่เขากล่าวแก่ลูกๆของเขาว่า พวกเจ้าจะเคารพสักการะอะไรหลังจากฉัน? พวกเขากล่าวว่า พวกเราจะเคารพสักการะพระเจ้าของท่าน และพระเจ้าแห่งบรรดาบิดาของท่าน คือ อิบรอฮีม อิสมาอีล และอิสฮาก แต่เพียงองค์เดียวและพวกเราจะเป็นผู้สวามิภักดิ์ต่อพระองค์เท่านั้น

 

   133a

تِلْكَ أُمَّةٌ قَدْ خَلَتْ لَهَا مَا كَسَبَتْ وَلَكُم مَّا كَسَبْتُمْ وَلاَ تُسْأَلُونَ عَمَّا كَانُوا يَعْمَلُونَ ﴿١٣٤﴾  

134. นั่นคือหมู่ชนที่ล่วงลับไปแล้ว สิ่งที่พวกเขาขวนขวายไว้ก็ย่อมได้แก่พวกเขา และสิ่งที่พวกเจ้าขวนขวายไว้ก็ย่อมได้แก่พวกเจ้า และพวกเจ้าจะไม่ถูกไต่สวนถึงสิ่งที่พวกเขากระทำ  

لَهَا مَا كَسَبَتْ وَلَكُمْ مَا كَسَبْتُمْ ..

 

قال ابن كثير : أي إن السلف الماضين من آبائكم من الأنبياء والصالحين لا ينفعكم انتسابكم إليهم إذا لم تفعلوا خيرا يعود نفعه عليكم ، فإنَّ لهم أعمالهم التي عملوها ولكم أعمالكم . ولهذا جاء في الاثر : من أبطأ به عمله لم يسرع به حسبه .

 

-------------

وَقَالُواْ كُونُواْ هُوداً أَوْ نَصَارَى تَهْتَدُواْ قُلْ بَلْ مِلَّةَ إِبْرَاهِيمَ حَنِيفاً وَمَا كَانَ مِنَ الْمُشْرِكِينَ ﴿١٣٥﴾

135. และพวกเขากล่าวว่า พวกท่านจงเป็นยิวเถิด หรือเป็นคริสต์เถิด พวกท่านก็จะได้รับคำแนะนำอันถูกต้อง จงกล่าวเถิด(มุฮัมมัด) หาใช่เช่นนั้นไม่ แนวทางของอิบรอฮีมผู้ใฝ่หาความจริงต่างหาก

 

﴿ وقالوا ﴾
قال ابن عباس : قال عبد الله بن صوريا الأعور لرسول الله صلى الله عليه وسلم : ما الهدى إلا ما نحن عليه ، فاتبعه يا محمد تهتد . وقالت النصارى مثل ذلك فأنزل الله عز وجل : وقالوا كونوا هودا أن نصارى تهتدوا ...
 
﴿ حنيفا ﴾
قال محمد بن كعب : أي مستقيما .
وقال مجاهد : خلصا .
و عن ابن عباس : حاجا .
وقال أبو العالية : الحنيف الذي يستقبل البيت بصلاته ويرى أن حجه عليه إن استطاع إليه سبيلا .
وقال الربيع بن أنس : أي متبعا .
وقال أبو قلابة : الحنيف الذي يؤمن بالرسل كلهم من أولهم إلى آخرهم .
وقال قتادة : الحنيفية شهادة أن لا إله إلا الله يدخل فيها تحريم الأمهات والبنات والخالات والعمات وما حرم الله عز وجل والختان .
 
قُولُواْ آمَنَّا بِاللّهِ وَمَا أُنزِلَ إِلَيْنَا وَمَا أُنزِلَ إِلَى إِبْرَاهِيمَ وَإِسْمَاعِيلَ وَإِسْحَاقَ وَيَعْقُوبَ وَالأسْبَاطِ وَمَا أُوتِيَ مُوسَى وَعِيسَى وَمَا أُوتِيَ النَّبِيُّونَ مِن رَّبِّهِمْ لاَ نُفَرِّقُ بَيْنَ أَحَدٍ مِّنْهُمْ وَنَحْنُ لَهُ مُسْلِمُونَ ﴿١٣٦﴾

136. ท่านจงกล่าวเถิด เราได้ศรัทธาต่ออัลลอฮฺ และสิ่งที่ถูกประทานลงมาแก่เรา และสิ่งที่ถูกประทานลงมาแก่อิบรอฮีม และอิสมาอีล และอิสฮาก และยะอฺกูบ และบรรดาวงศ์วานเหล่านั้น และสิ่งที่มูซา และอีซาได้รับ และสิ่งที่บรรดานะบีได้รับจากพระเจ้าของพวกเขา พวกเรามิได้แบ่งแยกระหว่างท่านหนึ่งท่านใดจากเขาเหล่านั้น และพวกเราจะเป็นผู้สวามิภักดิ์ต่อพระองค์เท่านั้น  

   

 

﴿ قولوا آمنا ... ﴾
 قال ابن كثير : أرشد الله تعالى عباده المؤمنين إلى الإيمان بما أنزل إليهم بواسطة رسوله محمد y مفصلا وما أنزل علىالأنبياء المتقدمين مجملا ، ونص على أعيان من الرسل وأجمل ذكر بقية الأنبياء وأن  يفرقوا بين أحد منهم بل يؤمنوا بهم كلهم ...
 
﴿ آمنا ... ﴾
 روى البخاري عن أبي هريرة رضي الله عنه قال : كان أهل الكتاب يقرءون التوراة بالعبرانية ويفسرونها بالعربية لأهل الإسلام ، فقال رسول الله y : لا تصدقوا أهل الكتاب ولا تكذبوهم وقولوا آمنا بالله وما أنزل الله .
 
فضيلة الآية ..
 روى مسلم وأبو داود والنسائي من حديث عثمان بن حكيم عن سعيد بن يسار عن ابن عباس قال : كان رسول الله y أكثر ما يصلي الركعتين اللتين قبل الفجر بـ ( آمنا بالله وما أنزل إلينا ) والأخرى ( آمنا بالله واشهد بأننا مسلمون ).
 
 
فَإِنْ آمَنُواْ بِمِثْلِ مَا آمَنتُم بِهِ فَقَدِ اهْتَدَواْ وَّإِن تَوَلَّوْاْ فَإِنَّمَا هُمْ فِي شِقَاقٍ فَسَيَكْفِيكَهُمُ اللّهُ وَهُوَ السَّمِيعُ الْعَلِيمُ ﴿١٣٧﴾  
137. แล้วหากพวกเขาศรัทธาอย่างที่พวกเจ้าศรัทธาแล้ว แน่นอนพวกเขาก็ย่อมได้รับข้อแนะนำที่ถูกต้อง และหากพวกเขาผินหลังให้ แน่นอนพวกเขาย่อมอยู่ในความแตกแยกกัน แล้วอัลลอฮฺก็จะทรงให้เจ้าพอเพียงแก่พวกเขา และพระองค์นั้นเป็นผู้ทรงไว้ซึ่งการได้ยิน ทรงไว้ซึ่งความรอบรู้  

 

﴿ بمثل ما آمنتم به ... ﴾
أي بمثل ما آمن به أصحاب محمد صلى الله عليه وسلم لأنه الإيمان الكامل الصحيح الذي أقره رسول الله صلى الله عليه وسلم حين مات وهو عنهم راض ... فكل من لم يؤمن بما آمن به الصحابة فقد تعرض للشقاق .