สงคราม

อธิบายอัลกุรอาน โดย เชคริฎอ อะหมัด สมะดี
ุทุกวันอาทิตย์ ที่มัสญิดอาคารไวท์สเปซ เวลา 10.00-11.30 น.
- สถานภาพของกลุ่มที่คิดจะทรยศท่านนบี แต่สุดท้ายก็ต้องมาแก้ตัวต่อสังคม เพราะอัลลอฮฺแฉพวกเขาในอัลกุรอาน
พวกเขาแอบอ้างศาสนาในการทำความผิด เพื่อให้คนเชื่อในข้ออ้างของตนเอง ที่ไม่ร่วมกับท่านนบี
คนที่มีอุปสรรค ไปร่วมสงครามไม่ได้จริงๆ อัลลอฮฺยกโทษให้ เช่น คนป่วย อ่อนแอ (ทางร่างกายหรือจิตใจ…
- การมอบหมายต่ออัลลอฮฺ (ตะวักกุ้ล) ที่แท้จริง เป็นที่สุดของอีมาน
- บททดสอบสำคัญของประชาติอิสลาม
- อัลวะลาอฺวัลบะรออฺ - การเป็นมิตรและศัตรูที่แท้จริง
- คุณสมบัติของความเป็นมุสลิม ในสถานการณ์สงคราม หรือภาวะวิกฤต
- อายะฮฺนี้เริ่มพูดถึงศัตรูจริง กองทัพใหญ่เป็นแสนครั้งแรก…
- สงครามต่างๆของท่านนบี ﷺ - ช่วงสุดท้ายมี 3 สงครามสำคัญที่นบีเข้าร่วมคือ พิชิตมักกะฮฺ, หุนัยนฺ และตะบู๊ก (ปี ฮ.ศ.8-9)
- ยุทธศาสตร์การยกเลิกญาฮิลียะฮฺ เพื่อจัดระเบียบสังคมใหม่
- 9:28 บรรดาผู้ศรัทธาทั้งหลาย แท้จริงบรรดามุชริกนั้นโสมม(นะจิส) -- หมายถึง ด้านความศรัทธา ความเชื่อของเขา --…
- เกิดสุริยุปราคาบางส่วนที่ตะวันออกกลาง บ้านเราไม่เห็น ก็ไม่ต้องละหมาด
- หากผิดสัญญาหรือใส่ร้ายอิสลาม ก็ให้ต่อสู้กับพวกเขา
- การผิดสัญญาของชาวกุเรชมีมากมายหลายครั้ง
- กลุ่มค่อวาริจญฺ (ยุคเศาะฮาบะฮฺ)
- บทบัญญัติสำหรับผู้ดูหมิ่นอิสลาม
-…
- อธิปไตยของดินแดน ผู้คนถูกแบ่งแยกกันด้วยดินแดน สัญชาติ ฯลฯ อิสลามถือว่าไม่เป็นธรรม
- รัฐอิสลามที่หายไป สิทธิที่หายไป - สมัยคิลาฟะฮฺ มุสลิมไม่ต้องมีพาสปอร์ต เดินทางเข้าประเทศมุสลิมได้เลย
- อายะฮฺที่ 5 นี้มักถูกใช้ในการโจมตีอิสลาม
- ให้เวลามุชริกีน 4 เดือน เพื่อพิจารณาตนเอง…
- เนื้อหาโดยรวมของซูเราะฮฺอัตเตาบะฮฺ
- เนื้อหาคล้ายอันฟาล (อันฟาลมาหลังสงครามบัดร ซึ่งเป็นสงครามแรก (ปีที่ 2) เนื้อหาเน้นศัตรูภายนอก)
- อัตเตาบะฮฺประทานลงมา(ทั้งซูเราะฮฺ) หลังสงครามตะบู๊ก (สงครามสุดท้าย หลังพิชิตมักกะฮฺ (ปีที่ 9) ยกทัพไป แต่ไม่ได้ทำสงคราม)…
- สงครามซาตุลริกออฺ (ริกออฺ คือผ้าที่เอามาพันเพื่อปิดแผล),
- การละหมาดขณะทำสงคราม, เศาะลาตุลเคาฟฺ (ละหมาดเมื่อมีความหวาดกลัวหรือขณะทำสงคราม),
- ความสำคัญของการละหมาด, อิสลามไม่ใช่เพียงแค่ละหมาด
- อายะฮฺสำคัญสำหรับผู้ที่ต้องการเพิ่มพูนคุณภาพชีวิต
- คนทำดีกับคนที่ไม่ได้ทำ ย่อมไม่เท่าเทียมกัน
- ความเห็นใจของกุรอานต่อผู้ที่ด้อยโอกาสหรือความสามารถในการทำความดี